วันจันทร์ที่ 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557

รายงานความก้าวหน้าเครือข่ายสภาองค์กรชุมชนตำบลอำเภอสังขะ มกรา 57

   แบบสำรวจข้อมูลพื้นฐานองค์กรชุมชน
 
 
1. ชื่อกลุ่มองค์กร ...เครือข่ายสภาองค์กรชุมชนตำบลอำเภอสังขะ...........
   ที่ตั้ง เลขที่ ....508.... หมู่บ้าน..โนนตระแบก...หมู่ที่ .11. ซอย ..........-................ ถนน สังขะ – ลำดวน.
       ตำบล สังขะ อำเภอ สังขะ  จังหวัด สุรินทร์ .รหัสไปรษณีย์ .32150.
       หมายเลขโทรศัพท์/โทรสาร   0895816800 / 0807249915 / 0833641182  อีเมล์/เว็บไซต์....ditdrorb@gmail.com../ .
2. ชื่อผู้ประสานงาน...นายประดิษฐ์  ดีรอบ....ตำแหน่ง สมาชิก
 เลขประจำตัวประชาชน 3321000448713....(ข้อมูลจะถูกเก็บเป็นความลับ)
บ้านเลขที่ ...69.. หมู่บ้าน.กระเทียม..หมู่ที่ .2.. ซอย ....-...................... ถนน ...............-......................ตำบล กระเทียม อำเภอ .สังขะ.. จังหวัด สุรินทร์ รหัสไปรษณีย์ 32150  หมายเลขโทรศัพท์/โทรสาร  083 3641182  087 251 5522..
อีเมล์/เว็บไซต์.. ditdrorb@gmail.com.................................
3.  การก่อตั้ง วัน/เดือน/ปี .13 พฤษภาคม 2556.. สนับสนุนการก่อตั้งโดย..สภาองค์กรชุมชนตำบลอำเภอสังขะ
4. วัตถุประสงค์องค์กร  
4.1 เพื่อให้เป็นศูนย์ประสานงานขับเคลื่อนสภาองค์กรชุมชน และ ทุกประเด็นงานพัฒนาภาคประชาสังคม               4.2 เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งของสภาองค์กรชุมชนในภาพรวมของอำเภอ
4.3 เพื่อเป็นองค์กรกลางในการเชื่อมประสานการแก้ปัญหาและพัฒนาตำบลอำเภอสังขะ ร่วมกับกลไกภาคประชาสังคมอำเภอสังขะ
5. องค์กรท่านเป็น ÿ องค์กรชุมชน หรือ þ องค์กรเครือข่าย ประเภทใด
    ÿ กลุ่มการเงิน ได้แก่ ออมทรัพย์เพื่อการผลิต ธนาคารหมู่บ้าน เครดิตยูเนียน กขคจ. กทบ. กลุ่มสัจจะ สหกรณ์
    ÿ กลุ่มอาชีพ/วิสาหกิจชุมชน ได้แก่ กลุ่มแม่บ้าน แปรรูปผลิตภัณฑ์ ผู้ใช้น้ำ ร้านค้า/ศูนย์สาธิต ปลูกพืช เลี้ยงสัตว์ ประมง
    ÿ กลุ่มทางสังคม ได้แก่ กลุ่มสวัสดิการ ผู้สูงอายุ ฌาปนกิจ พัฒนาสตรี เยาวชน ศูนย์สงเคราะห์ กองทุนช่วยเหลือ         ต่อต้านยาเสพติด อสม. อปพร.   ผู้ป่วย/ผู้พิการ ฯลฯ
    ÿ กลุ่มสิ่งแวดล้อม/ทรัพยากรธรรมชาติ ได้แก่ กลุ่มอนุรักษ์ทรัพยากร ประมงชายฝั่ง ลุ่มน้ำ เกษตรอินทรีย์ ป่าชุมชน
    ÿ ที่อยู่อาศัย/ชุมชนเมือง/ที่ดินทำกิน
    ÿ กลุ่มวัฒนธรรม /ภูมิปัญญาท้องถิ่น ได้แก่ กลุ่มสมุนไพร แพทย์แผนไทย อนุรักษ์ประเพณี/ศาสนา/วัฒนธรรม ชนเผ่า ศิลปการแสดง ดนตรี นาฎศิลป์ งานประดิษฐ์ฝีมือพื้นบ้านโบราณ พระสงฆ์ นักบวช
    ÿ สื่อชุมชน           ได้แก่ วิทยุชุมชน นสพ.ท้องถิ่น          þ อื่นๆ โปรดระบุ สภาองค์กรชุมชนตำบล .
 
6.  กิจกรรมต่าง ๆ ที่องค์กรดำเนินการ  ได้แก่ กิจกรรมตาม ข้อ 14
           
 
 
7.  จำนวนสมาชิก                      
           7.1 กรณีไม่ใช่องค์กรเครือข่าย มีสมาชิก แรกก่อตั้ง.......-..... คน  สมาชิกปัจจุบัน .......-....... คน
          ลักษณะสมาชิก  ¨  จากชุมชน/หมู่บ้านเดียวกัน   ¨ จากหลายชุมชน/หมู่บ้าน  o จากตำบล/อำเภอ/จังหวัด อื่น
            7.2 กรณีที่เป็นองค์กรครือข่าย มีสมาชิก แรกก่อตั้ง.....9......องค์กร สมาชิกปัจจุบัน....13......องค์กร
8.  กลุ่มเป็นสมาชิกเครือข่ายใดบ้าง  
¨   ไม่เป็น   þ   เป็นสมาชิก    1. เครือข่าย ..สภาองค์กรชุมชนตำบลจังหวัดสุรินทร์
                                                    2. เครือข่าย .........
9. คณะกรรมการ
    9.1 คณะกรรมการบริหารองค์กร ปัจจุบัน มีทั้งสิ้น___5_ คน ประกอบด้วย

ลำดับ

ชื่อ-นามสกุล
ตำแหน่ง
อายุ
อาชีพ
โทรศัพท์
1
นางนายโจนินทร์  ทองศิริกุลวัฒน์
ประธาน
53
นักธุรกิจ
0895816800
2
นายสุทธิรักษ์  ชอบมี
รองประธาน คนที่ 1
 
เกษตรกร
0806446632
3
นางวาฐินี บุดดาหลู่
รองประธานคนที่ 2
 
เกษตรกร
0872587178
4
นางเอกวิทย์ เผ่าเอี่ยม
เลขานุการ
 
ค้าขาย
0837499906/ 0807249915
5
นายเอกสิทธิ์  เผ่าเอี่ยม
ผช.เลขานุการ
 
เกษตรกร / ลูกจ้างไปรษณีย์สังขะ
0806066241
5
นายประดิษฐ์  ดีรอบ
ผู้ประสานงาน
53
อาสาสมัครทั่วไปเต็มเวลา
0833641182

 
 
 
      9.2   คณะกรรมการตรวจสอบ        þ   ไม่มี          ÿ    มี จำนวน________คน
10.ระเบียบ ข้อบังคับ ข้อตกลง กติกา ขององค์กรเรื่องต่าง ๆ ที่เป็นลายลักษณ์อักษร
          þ  มี ÿ  ไม่มี
11.การประชุม
          - การประชุมคณะกรรมการ  ÿ ไม่มี ÿ ทุกเดือน   ÿ ทุก 3 เดือน   ÿ ทุกปี   þ ไม่แน่นอน ระบุ เมื่อมีกิจกรรม  หรือโครงการ
          - การประชุมสมาชิก         ÿ ไม่มี  ÿ ทุกเดือน  þ  ทุก 3 เดือน   ÿ ทุกปี   ÿ ไม่แน่นอน ระบุ.....
12.  ฐานะทางการเงิน             เงินทุนแรกก่อตั้ง..........-...............บาท   
เงินทุนปัจจุบัน  บาท (ข้อมูล ณ เดือน..สิงหาคม พ.ศ.2256)
13.  การจัดการการเงิน (กรณีกลุ่มองค์กรการเงิน)
      -  เงินออมสะสม/หุ้น รวม .............-............... บาท    เงินทุนรวมทั้งหมด....................................... บาท
      -  ให้สมาชิกกู้จำนวน ................-................. ราย      เงินให้สมาชิกกู้คงเหลือ..................-................ บาท
      -  เงินกู้/ยืม/กองทุน จากภายนอกในปัจจุบั...............-..............  แหล่งเงินกู้.................-..................
                                                           (ข้อมูล ณ เดือน  สิงหาคม พ.ศ..2556.)
 
14.  แผนงานหลัก/กิจกรรมที่เครือข่ายสภาองค์กรชุมชนตำบลอำเภอสังขะ ( ๒๕๕๗ – ๒๕๕๙) ดังต่อไปนี้
เรื่องที่ทำร่วมกันระดับอำเภอ (แผนงานหลัก)
เป้าหมายการเปลี่ยนแปลงของตำบล(สิ่งที่อยากให้เกิดขึ้นในตำบล)
ปี ๒๕๕๖
ปี ๒๕๕๗
ปี ๒๕๕๘
ปริมาณ
คุณภาพ
ปริมาณ
คุณภาพ
ปริมาณ
คุณภาพ
๑..ติดตามกระตุ้นการดำเนินงานตามภารกิจสภาองต์กรชุมชนตำบลทุกตำบล
๑๒ ตำบล
มีสภาองค์กรชุมชนครบทุกตำบล
๑๒ ตำบล
ทุกตำบล มีประเด็นงานตามภารกิจอย่างน้อย ๑ ประเด็น
๑๒ ตำบล
ทุกตำบลมีประเด็นงานอย่างน้อย ตำบลละ ๒ ประเด็น
๒..สร้างผังอนุรักษ์ฟื้นฟูและพัฒนาพื้นที่ชุมชนขอมโบราณ
-มีแผนที่ทำมือ และ GIS
อย่างละ ๑ ชุด
-มีการแบ่งเขตพร้อมปักปักหลักแสดงเขตชัดเจนเต็มพื้นที่
มีแผนผังแสดงพื้นที่ทั้งชุมชน ๑ ชุด
มีผังที่สามารถนำมาพัฒนาพื้นที่ได้
มีแผนผังแสดงพื้นที่ทั้งชุมชน ๑ ชุด
มีตัวอย่างผู้นำผังพัฒนาพื้นที่แล้ว
๓..พัฒนากลไกเครือข่ายมรดกทางศิลปวัฒนธรรม ระดับอำเภอ
มีเครือข่ายมรดกทางศิลปะวัฒนธรรม ๑ ตำบล
พื้นที่มรดกทางศิลปะวัฒนธรรมปลอดภัยจากกาการบุกรุก ทำลาย
๔ ตำบล
แต่ละตำบลสามารถจัดกิจกรรมสร้างคุณค่ามรดกทางศิลปวัฒนธรรมมเองได้
ตั้งเครือข่ายมรดกทางศิลปวัฒนธรรมอำเภอ
สามารถเชื่อมโยงการสร้างมูลค่าเพิ่มโบราณสถนให้เป็นเครือข่ายการท่องเที่ยวได
๔..พัฒนาพื้นที่กิจกรรมให้ป็นศูนย์เรียนรู้ตำบลอย่างน้อย ตำบลละ ๑ แห่ง
๒ ตำบล
ตำบลสามารถจัดการตนเองได้อย่างน้อย ๑ ด้าน ๒ ตำบล
๖ ตำบล
ตำบลสามารถจัดการตนเองได้อย่างน้อย ๑ ด้าน ๘ ตำบล
๔ ตำบล
ตำบลสามารถจัดการตนเองได้อย่างน้อย ๑ ด้าน ครบทุกตำบล  ตำบล
๕..ฟื้นฟูและพัฒนากองบุญคุณธรรมเพื่อจัดสวัสดิการชุมชนตำบลกระเทียม กระตุ้นการจัดตั้งกองบุญฯ ตำบลใหม่
ฟิ้นฟู ๑ ตำบล
ตั้งใหม่ ๒
พัฒนา ๒
สามารถมอบสวัสดิการสมาชิกชุมชนได้ตามข้อกำหนดอย่างน้อย เกิด แก่ ป่าย ตาย ๓ตำบล และเพิ่มสวัสดิการ ๒ ตำบล
ตั้งใหม่ 
พัฒนา ๕
สามารถมอบสวัสดิการ เกิด แก่ ป่วย ตาย ๗ ตำบล เพิ่มสวัสดิการ ๕ ตำบล
พัฒนาทั้ง ๑๒ ตำบล
สามารถมอบสวัสดิการสมาชิกได้มากกว่า เกิด แก่ ป่วย ตาย
๖,,ขับเคลื่อนประเด็นที่ดินแนวใหม่
๑๒ ตำบล ๑ เทศบาล
มีข้อมูลที่ดินที่ทำกินและที่อยู่อาศัย เต็มพื้นที่ตำบลทุกตำบลและหราบปัญหา
-๑๒ ตำบล ๑ เทศบาล
มีการแก้ปัญหา / พัฒนาที่ดินที่อยู่อาศัยและที่ทำกิน ร้อยละ ๓๐มีศูนย์เรียนรู้การพ้ฒนาคุณภาพชีวิตจากการจัดการที่ดินแนวใหม่ ๕ ตำบล
-๑๒ ตำบล ๑ เทศบาล
แก้ปัญหาที่ดินที่อยู่อาศัย เต็มพื้นที่ทุกตำบล และ มีศูนย์เรียนรู้การพ้ฒนาคุณภาพชีวิตจากการจัดการที่ดินแนวใหม่ ๑๒ ตำบล
๗..พัฒนาป่าชุมชนเดิม จดแจ้งป่าชุมชนเพิ่ม
ปลูกต้นไม้ ซ่อมในป่าชุมชนเดิม  แห่งละ อย่างน้อย ๕๐๐ ต้น สำรวจป่าที่ยังไม่ได้จดแจ้งป่าชุมชนทั้งอำเภอ
และ จดแจ้งป่าชุมชนเต็มพื้นที่ตำบล ๔ ตำบล พร้อมพัฒนาศักยภาพ ทสม. ทุกตำบล
-ป่าร่มรื่นขึ้น --เจ้าของของวัวควายปรับวิธีการเลี้ยงสัตว์ด้วยการปลูกหญ้าในพื้นที่ตนเอง
-มีแหล่งอหารแหล่งพักผ่อน แหล่งพลังงาน แหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติชุมชนเพิ่มขึ้น
ปลูกต้นไม้ ซ่อมในป่าชุมชนเดิม  แห่งละ อย่างน้อย ๕๐๐ ต้น สำรวจป่าที่ยังไม่ได้จดแจ้งป่าชุมชนทั้งอำเภอ
และ จดแจ้งป่าชุมชนเต็มพื้นที่ตำบล ๘ ตำบล พร้อมพัฒนาศักยภาพ ทสม. ทุกตำบล
ป่าร่มรื่นขึ้น เจ้าของของวัวควายปรับวิธีการเลี้ยงสัตว์ด้วยการปลูกหญ้าในพื้นที่ตนเอง มีอาหารสมุนไพรธรรมชาติเกิดขึ้น
ปลูกต้นไม้ ซ่อมและ พัฒนาป่าชุมชนทุก  แห่งละ อย่างน้อย ๕๐๐ ต้น
พร้อมพัฒนาศักยภาพ ทสม. ทุกตำบล ประกวดป่าชุมชน
ป่าร่มรื่นขึ้น เจ้าของของวัวควายปรับวิธีการเลี้ยงสัตว์ด้วยการปลูกหญ้าในพื้นที่ตนเอง ชาวบ้านสามารถเก็บเกี่ยวอาหารสมุนไพรจากป่ามาบริโภคได้
๘..ตั้งศูนย์ประสานงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ตำบล สู่ตำบลเศรษฐกิจและสวัสดิการสีเขียว
๔ ตำบล
ประชาชนตระหนักหวงแหนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมส่วนตัว และสาธารณะ
๘ ตำบล
ประชาชนดูแล ฟื้นฟูและพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมส่วนตัว และสาธารณะเพื่อประโยชน์ในการดำเนินชีวิต
-
ประชาชนดูแล พัฒนา บริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมส่วนตัว และสาธารณะให้เป็นองค์ประกอบสำคัญทางเศรษฐกิจและสวัสดิการภาพรวมอำเภอ
๙..พัฒนาศูนย์เรียนรู้ อำเภอ กระจายตามตำบล
 ตำบล
สร้างรายได้เข้าอำเภออย่างน้อย ๓,๐๐๐,๐๐๐ บาท
สามารถดึงดูดและสร้างความประทับใจให้แก่นักท่องเที่ยวมาศึกษาดูงานได้เป็นอย่างดี / ผู้ผลิตและผู้เกี่ยวข้องมีความภาคภูมิใจในตนเอง และ มึคุณภาพความเป็นอยู่ดีขึ้น
๕ ตำบล
สร้างรายได้เข้าอำเภออย่างน้อย ๘,๐๐๐,๐๐๐ บาท
สามารถดึงดูดและสร้างความประทับใจให้แก่นักท่องเที่ยวมาศึกษาดูงานได้เป็นอย่างดี / ผู้ผลิตและผู้เกี่ยวข้องมีความภาคภูมิใจในตนเอง และ มึคุณภาพความเป็นอยู่ดีขึ้น
๔ ตำบล
สร้างรายได้เข้าอำเภออย่างน้อย ๑๒,๐๐๐,๐๐๐ บาท
สามารถดึงดูดและสร้างความประทับใจให้แก่นักท่องเที่ยวมาศึกษาดูงานได้เป็นอย่างดี / ผู้ผลิตและผู้เกี่ยวข้องมีความภาคภูมิใจในตนเอง และ มึคุณภาพความเป็นอยู่ดีขึ้น
๑๐..ตั้งสถานศึกษา/สถานฝึกอบรมพื้นบ้านมาตรฐาน สากล
๑ แห่ง
สร้างรายได้เข้าอำเภออย่างน้อย ๒,๐๐๐,๐๐๐ บาท
สามารถดึงดูดและสร้างความประทับใจให้แก่ นักเรียนนักท่องเที่ยวมาศึกษาดูงานได้เป็นอย่างดี / ผู้ผลิตและผู้เกี่ยวข้องมีความภาคภูมิใจในตนเอง และ มึคุณภาพความเป็นอยู่ดีขึ้น
๑ แห่ง
สร้างรายได้เข้าตำบลอย่างน้อย ๒,๐๐๐,๐๐๐ บาท
สามารถดึงดูดและสร้างความประทับใจให้แก่นักท่องเที่ยวมาศึกษาดูงานได้เป็นอย่างดี / ผู้ผลิตและผู้เกี่ยวข้องมีความภาคภูมิใจในตนเอง และ มึคุณภาพความเป็นอยู่ดีขึ้น
๑ แห่ง
สร้างรายได้เข้าตำบลอย่างน้อย ๖,๐๐๐,๐๐๐ บาท
สามารถดึงดูดและสร้างความประทับใจให้แก่นักท่องเที่ยวมาศึกษาดูงานได้เป็นอย่างดี / ผู้ผลิตและผู้เกี่ยวข้องมีความภาคภูมิใจในตนเอง และ มึคุณภาพความเป็นอยู่ดีขึ้น
๑๒..ตั้งองค์กรส่งเสริมอุตสาหกรรมทางศิลปวัฒนธรรมอำเภอ
๑ แห่ง
สร้างรายได้เข้าตำบลอย่างน้อย ๑๒,๐๐๐,๐๐๐ บาท
สามารถดึงดูดและสร้างความประทับใจให้แก่ผู้ชม ผู้ฟังและผู้อ่าน / ผู้ผลิตและผู้เกี่ยวข้องมีความภาคภูมิใจในตนเอง และ มึคุณภาพความเป็นอยู่ดีขึ้น
๑ แห่ง
สร้างรายได้เข้าตำบลอย่างน้อย ๒๐,๐๐๐,๐๐๐ บาท
สามารถดึงดูดและสร้างความประทับใจให้แก่ผู้ชม ผู้ฟังและผู้อ่าน / ผู้ผลิตและผู้เกี่ยวข้องมีความภาคภูมิใจในตนเอง และ มึคุณภาพความเป็นอยู่ดีขึ้น
๑ แห่ง
สร้างรายได้เข้าตำบลอย่างน้อย ๓๐,๐๐๐,๐๐๐ บาท
สามารถดึงดูดและสร้างความประทับใจให้แก่ผู้ชม ผู้ฟังและผู้อ่าน / ผู้ผลิตและผู้เกี่ยวข้องมีความภาคภูมิใจในตนเอง และ มึคุณภาพความเป็นอยู่ดีขึ้น
๑๓..ตั้งสถาบันการเงินตำบล
๑ ตำบล
 
ตำบลมีเงินบริหารจัดการการลงทุนเพื่อการผลิตอย่างเพียงพอ
  ตำบล/๑ เทศบาล
 
ตำบลมีเงินบริหารจัดการการลงทุนเพื่อการผลิตอย่างเพียงพอ
๔ ตำบล
 
ตำบลมีเงินบริหารจัดการการลงทุนเพื่อการผลิตอย่างเพียงพอ
๑๔..ตั้งสมาคมพัฒนาเศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดล้อมภาคประชาสังคมอำเภอสังขะ
๑ สมาคม กรรมการบริหาร ๑๒ คน
ตำบลมีกลไกหนุนเสริมการบริหาร จัดการ และบริการ เพื่อการลงทุนเพื่อการผลิต และบริการอย่างเพียงพอ
๑ สมาคม กรรมการบริหาร ๒๔  คน
ตำบลมีกลไกหนุนเสริมการบริหาร จัดการ และบริการ เพื่อการลงทุนเพื่อการผลิต และบริการอย่างเพียงพอ
๑ สมาคมเดิม กรรมการบริหาร ๓๖ คน
ตำบลมีกลไกหนุนเสริมการบริหาร จัดการ และบริการ เพื่อการลงทุนเพื่อการผลิต และบริการอย่างเพียงพอ
 
๑๕..ตั้งสภาวัฒนธรรมตำบล
ร้อยละ ๕๐
กิจกรรมต่างๆ ที่จัดขึ้นในตำบล /อำเภอนั้นมีสมาชิกสภาเป็นผู้กลั่นกรองควบคุมไม่ให้นอกรีตนอกลู่นอกทางศิลปวัฒนธรรมอันดีของชาติ
ทุกตำบลที่เหลือ
กิจกรรมต่างๆ ที่จัดขึ้นในตำบล/อำเภอนั้นมีสมาชิกสภาเป็นผู้กลั่นกรองควบคุมไม่ให้นอกรีตนอกลู่นอกทางศิลปวัฒนธรรมอันดีของชาติ
-
กิจกรรมต่างๆ ที่จัดขึ้นในตำบล/อำเภอนั้นมีสมาชิกสภาเป็นผู้กลั่นกรองควบคุมไม่ให้นอกรีตนอกลู่นอกทางศิลปวัฒนธรรมอันดีของชาติ
๑๖..พัฒนาโครงการถนนอุโมงสีเขียวทุกตำบล
 
มีคณะทำงานตัวจริง ทำงานเต็มเวลาอย่างน้อย ๘ คน สร้างรายได้เข้าตำบล อย่างน้อย ๑,๐๐๐,๐๐๐ บาท
ผู้รับผิดชอบมีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น ริมทางมีความร่มรื่นสมบูรณ์ไปด้วยสัตว์น้ำพืชน้ำ และไม้ประดับ รถที่สัญจรไปมาไม่ต้องเปิดเครื่องปรับอาการช่วยลดภาวะโลกร้อน มีคติสอนใจให้คนเป็นคนดีตามแนวทางโครงการคนดีศรีแผ่นดินจังหวัดสุรินทร์ปี ๒๕๔๗
มีคณะทำงานตัวจริง ทำงานเต็มเวลาอย่างน้อย ๘ คน สร้างรายได้เข้าตำบล อย่างน้อย ๑,๐๐๐,๐๐๐ บาท
ผู้รับผิดชอบมีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น ริมทางมีความร่มรื่นสมบูรณ์ไปด้วยสัตว์น้ำพืชน้ำ และไม้ประดับ รถที่สัญจรไปมาไม่ต้องเปิดเครื่องปรับอาการช่วยลดภาวะโลกร้อน มีคติสอนใจให้คนเป็นคนดีตามแนวทางโครงการคนดีศรีแผ่นดินจังหวัดสุรินทร์ปี ๒๕๔๗
มีคณะทำงานตัวจริง ทำงานเต็มเวลาอย่างน้อย ๘ คน สร้างรายได้เข้าตำบล อย่างน้อย ๑,๐๐๐,๐๐๐ บาท
ผู้รับผิดชอบมีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น ริมทางมีความร่มรื่นสมบูรณ์ไปด้วยสัตว์น้ำพืชน้ำ และไม้ประดับ รถที่สัญจรไปมาไม่ต้องเปิดเครื่องปรับอาการช่วยลดภาวะโลกร้อน มีคติสอนใจให้คนเป็นคนดีตามแนวทางโครงการคนดีศรีแผ่นดินจังหวัดสุรินทร์ปี ๒๕๔๗
๑๗..ตั้งสภาพัฒนาการเมืองภาคพลเมืองประจำตำบล
๔ ตำบล
ประชาชนรู้จักบทบาทหน้าที่ของความเป็นคนไทยในระดับตำบล สามารถใช้สอิทธิและหน้าที่ของตนเองอย่างเต็มที่ในการมีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชน และ ประเทศชาติ
๘ ตำบล
ประชาชนรู้จักบทบาทหน้าที่ของความเป็นคนไทยในระดับตำบล สามารถใช้สอิทธิและหน้าที่ของตนเองอย่างเต็มที่ในการมีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชน และ ประเทศชาติ
-
ประชาชนรู้จักบทบาทหน้าที่ของความเป็นคนไทยในระดับตำบล สามารถใช้สอิทธิและหน้าที่ของตนเองอย่างเต็มที่ในการมีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชน และ ประเทศชาติ
๑๘..ตั้งองค์กรพัฒนาการศึกษาชุมชนระดับตำบล
๓ ตำบล
สามารถกระตุ้น ส่งเสริม ตรวจสอบ ประเมินผล เนอแนะ คุณภาพการจัดกระบวนการเรียนการสอนในตำบล
๙ องค์กร
สามารถกระตุ้น ส่งเสริม ตรวจสอบ ประเมินผล เนอแนะ คุณภาพการจัดกระบวนการเรียนการสอนในตำบล
-
สามารถกระตุ้น ส่งเสริม ตรวจสอบ ประเมินผล เนอแนะ คุณภาพการจัดกระบวนการเรียนการสอนในตำบล
๑๙,,ตั้งองค์กรพัฒนาการท่องเที่ยวชุมชนตำบล
๓ ตำบล
สามารถกระตุ้น ส่งเสริม เสนอแนะ คุณภาพการจัดกระบวนการเรียนการให้บริการ ผลิตสินค้าการท่องเที่ยว พัฒนาศูนย์เรียนรู้ในตำบล และประสานงานพัฒนา ปัจจัยการท่องเที่ยวในตำบล
๙ ตำบล
สามารถกระตุ้น ส่งเสริม เสนอแนะ คุณภาพการจัดกระบวนการเรียนการให้บริการ ผลิตสินค้าการท่องเที่ยว พัฒนาศูนย์เรียนรู้ในตำบล และประสานงานพัฒนา ปัจจัยการท่องเที่ยวในตำบล
-
สามารถกระตุ้น ส่งเสริม เสนอแนะ คุณภาพการจัดกระบวนการเรียนการให้บริการ ผลิตสินค้าการท่องเที่ยว พัฒนาศูนย์เรียนรู้ในตำบล และประสานงานพัฒนา ปัจจัยการท่องเที่ยวในตำบล
๒๐..พัฒนาสื่อ
๒๐.๑ ดีวีดีการแสดงพื้นบ้าน
๒๐.๒ ดีวีดี เพลงลูกทุ่ง
 
๒๐.๓.ดีวีดีวิถีชีวิต/อาชีพ รวมภาษาพื้นบ้านสุรินทร์และภาษาอังกฤษ
 
 
๒๐.๔..ดีวีดีเรียนภาษาอังกฤษ
 
 
 
 
 
๒๐.๕..ติดตั้งศูนย์กระจายไวไฟ ตำบล
 
๕ ชุดการแสดง
๑ อัลบั้ม
 
 
๕ ชุด
 
 
 
 
 
 
 
 
๑๐ เรื่อง
 
 
 
 
 
 
 
 
๑ ตำบล
 
แสง สี เสียง เนื่อหา เหมาะสมต่อระบบปราสาท และอารมณ์สู่การเป็นคนดี
สร้างความภาคภูมิใจในวิถีชีวิตต่าง ๆ และได้เรียนรู้ภาษาพื้นบ้านและภาษาอังกฤษจากกิจกรรมจริง
ผู้เรียนเข้าใจและสามารถนำไปใช้ได้ง่ายๆ
องค์กรชุมชน และประชาชนเข้าถึงข้อมูลข่าสารอินเตอร์เน็ตร้อยละ ๑๐
 
๕ ชุดการแสดง
๑ อัลบั้ม
 
 
๕ ชุด
 
 
 
 
 
 
 
 
 
๑๐ เรื่อง
 
 
 
 
 
 
 
๑๑ ตำบล
 
 
แสง สี เสียง เนื่อหา เหมาะสมต่อระบบปราสาท และอารมณ์สู่การเป็นคนดี
สร้างความภาคภูมิใจในวิถีชีวิตต่าง ๆ และได้เรียนรู้ภาษาพื้นบ้านและภาษาอังกฤษจากกิจกรรมจริง
ผู้เรียนเข้าใจและสามารถนำไปใช้ได้ง่ายๆ
องค์กรชุมชน และประชาชนเข้าถึงข้อมูลข่าสารอินเตอร์เน็ตร้อยละ ๓๐
 
๕ ชุดการแสดง
๑ อัลบั้ม
 
 
๕ ชุด
 
 
 
 
 
 
 
 
๑๐ เรื่อง
 
 
แสง สี เสียง เนื่อหา เหมาะสมต่อระบบปราสาท และอารมณ์สู่การเป็นคนดี
สร้างความภาคภูมิใจในวิถีชีวิตต่าง ๆ และได้เรียนรู้ภาษาพื้นบ้านและภาษาอังกฤษจากกิจกรรมจริง
ผู้เรียนเข้าใจและสามารถนำไปใช้ได้ง่ายๆ
องค์กรชุมชน และประชาชนเข้าถึงข้อมูลข่าสารอินเตอร์เน็ตร้อยละ ๖๐
๒๑..ร่วมนำจดแจ้งองค์กร/องค์กรเครือข่าย และจัดตั้งสภาองค์กรชุมชนตำบลให้ครบทุกตำบล และ เทศบาลในจังหวัดสุรินทร์
๕ ตำบล/ เทศบาล ในโซน ๒
แกนนำในชุมชนมีความรู้ความสามารถในการเข้าถึงช่องทางการพัฒนาองค์กรในชุมชน
๑๒ ตำบล/ เทศบาล ในโซน ๒
แกนนำในชุมชนมีขวัญและกำลังใจในการนำพาประชาชนในชุมชนตระหนักในการมีส่วนร่วมทางสังคมมากขึ้น
๑๒ ตำบล/ เทศบาล ในโซน ๒
ประชาชนมีความเข้มแข็งในการดำเนินชีวิตอย่างมีภูมิ และ มีความสุขในสถานการณ์สังคมเศรษฐกิจอาเซี่ยน
                                               
 
15.  จุดเด่น/ผลสำเร็จ ที่ภาคภูมิใจ คือร่วมกับองค์กรชุมชน ดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ดังนี้
          1....... ๑..ประสานงบประมาณ จัดการที่ดินแนวใหม่เพื่อทำกินและที่อยู่อาศัย จาก ๒ ตำบล เพิ่มใหม่ ๖ ตำบล ๑ เทศบาล คือ ตำบลกองทุน ๕๕ ๒ ตำบล ดังแสดงในตารางต่อไปนี้
ลำดับ
ตำบล
๒๕๕๕
๒๕๕๖
กระเทียม
200,000
 
ตาตุม
200,000
 
ขอนแตก
 
50,000
ทับทัน
 
50,000
เทพรักษา
 
50,000
เทศบาลสังขะ
 
50,000
บ้านชบ
 
50,000
สะกาด
 
50,000
สังขะ
 
50,000
 
รวม
 
                2....๑๖..พัฒนาโครงการถนนอุโมงค์สีเขียวตำบลกระเทียม
                3...๒๐..พัฒนาสื่อ
                                ๒๐.๑ ผลิตดีวีดีพิธีอัญเชิญและแห่ผ้าคลุมพระแท่นวัชระอาสน์ที่จัดขึ้น เมื่อวันที่ ๑๐ พฤศจิกายน ๒๕๕๖
                                ๒๐.๒ บันทึก /ผลิตดีวีดี กิจกรรมการแสดงช้าง ๒๕๕๖
                               
          4.....๒๑..นำจดแจ้งองค์กร/องค์เครือข่าย และจัดตั้งสภาองค์กรชุมชนตำบลให้ครบ ๑๒ ตำบล ๑ เทศบาล ในอำเภอสังขะ จังหวัดสุรินทร์./นำจดแจ้งองค์กรชุมชน ครบ ร้อยละ ๖๐ ของหมู่บ้าน ตำบลอู่โลก นำจดแจ้งจัดตั้ง สภาองค์กรชุมชนตำบลตรำดม  และ ตำบลตระเปียงเตีย อำเภอลำดวน
          5…..ประสานกลไกจัดขบวนประชาสังคมอำเภอสังขะ มอบหมายให้ ดร.บุษราภรณ์ ปรากฏรัตน์ หัวหน้างานส่งเสริมสุขภาพชุมชน โรงพยาบาลสังขะ เป็นผู้ประสานงานประชาสังคมอำเภอสังขะ                                                6…..เชื่อมโยงประเด็นงานสวัสดิการ สามารถจัดตั้งกองทุนสวัสดิการใหม่ ได้ สองตำบล คือ กระเทียม และ ดม รวมกองทุนเดิมที่ขับเคลื่อนได้เอง อีก ๓ ตำบล ได้แก่ ทับทัน ขอนแตก ตาคง และ บ้านจารย์ รวมเป็น ๖ ตำบล
 
 
16.  ปัญหาอุปสรรคของกลุ่ม
          1. ผู้นำทางการบางส่วนไม่ยอมรับ พร้อมทั้งคัดค้านผู้ประสานงานการจัดตั้งสภาองค์กรชุมชนตำบล
          2. สมาชิกเคยชินในการตามผู้นำระบบราชการ จึงไม่เชื่อมั่นในความเป็นส่วนหนึ่งของสภาองค์กรชุมชน               3. สมาชิกเห็นว่าไม่มีค่าตอบแทนจึงไม่ให้ความสนใจประกอบกิจกรรม
17.  สิ่งที่ต้องการเร่งด่วนจากอำเภอ                                                                                                        17.1 นายอำเภอประชุมทุกภาคส่วน ทบทวนงานการให้การสนับสนุน ร่วมมือ บูรณาการระหว่างองค์กรภาครัฐ และ ภาคประชาชน ในการจัดการพื้นที่ในเชิงประเด็นและเชิงพื้นที่ ในระดับ ชุมชน หมู่บ้าน ตำบล อำเภอ จังหวัด กลุ่มจังหวัด ภาค ประเทศ ประชาคมอาเซี่ยน และ ประชาคมโลก                                                              17.2 นายอำเภอติดตามรายงานผลการให้การสนับสนุน ร่วมมือ และ บูรณาการ ตาม 17.1 พร้อมเสนอแนะ มอบหมาย รายเดือน รายไตรมาศ และ รายปี จาก ผู้นำทุกภาคส่วน                                                            17.3  นายอำเภอทำโครงการขอรับงบประมาณขับเคลื่อนงานทุกภาคส่วนระดับอำเภอจากแหล่งงบต่าง ๆ เพื่อสมทบงบท้องถิ่น และ ชุมชน ที่ผ่านมา เป็นการใช้งบ อบต. ชุมชน และ หักจาก เงิน แต่ไม่หักบัญชีจากโครงการ SML แต่ละหมู่บ้าน                                       
          
 
ผู้ให้ข้อมูล นายประดิษฐ์  ดีรอบ .โทร. 083 364 1182......   วัน เดือน ปี 19 มกราคม 2557
 

รายงานโดย ประดิษฐ์ ดีรอบ  ( แก้ไขล่าสุด 2012-02-29 )